IIoT vs วิธีดั้งเดิม ขั้นตอนที่ 3 – Analyze & Report การวิเคราะห์และสร้างรายงาน

IIoT Vs วิธีดั้งเดิม ขั้นตอนที่ 3

Share this post

Stage 3 - Analyze & Report

เรามาถึง Stage ได้เก็บรวบรวมข้อมูลแล้วก็บันทึกเข้าฐานข้อมูล Database แล้วเราจะมาดูว่าเราสามารถใช้ Application Software แบบไหนบ้างในการวิเคราะห์และก็ทำรายงาน Application ที่ใช้ได้มันก็ขึ้นอยู่กับว่าเราใช้ระบบอะไรนะครับว่าจะเป็นระบบดั้งเดิมหรือว่าเป็นระบบ Industrial IoT

6 Type of Applications & Method used for Analysing and Reporting data

Manually Create Reports

เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดวิธีแรกนะครับแล้วก็เป็นวิธีที่ flexibles ที่สุดก็คือเป็นการสร้างรายงานแบบ Manual ข้อดีก็คือรวดเร็วนะครับแล้วก็เป็นวิธีแรกเลยถ้าเกิดเวลาเรามีคำถามเกี่ยวกับตัวข้อมูลเราดาวน์โหลดเข้ามาใน Excel ทำรายงานแบบ manual แต่การใช้ในระยะยาวนะครับจะเป็นวิธีที่ต้องใช้เวลาในการสร้างรายงานต้องการคนที่มีประสบการณ์ในการสร้างรายงานพวกนี้ด้วยและแน่นอนมันก็จะมีปัญหาเรื่อง Human Error ด้วย

Business Intelligence Tools

เป็นการใช้ BI หรือ Business Intelligent tool นะครับแต่ BI tool ต้องการที่จะมี Specialist ในการช่วย set up ตัว Data Set ตัว Tool เองเนี่ยสามารถทำให้คนสร้างรายงานแล้วก็วิเคราะห์ข้อมูลได้พอสมควรค่อนข้างฟรีในการวิเคราะห์ตัวข้อมูลนะครับตัวอย่างของ BI tool ก็คือเช่น Power BI ของ Microsoft Google Data Studio เป็นต้นหลังๆเนี่ยพวก BI มี SaaS โมเดลอยู่แล้วก็คือ  pay-as-you-go นะครับในการขายไม่จำเป็นต้องลงเงินก้อนซื้อขาดข้อจำกัดของตัว BI นะครับก็คือไม่สามารถที่จะใส่ input ได้เราจึงไม่สามารถที่จะเติม context เข้าไปในตัวข้อมูลได้นะครับข้อมูลอาทิเช่น Manufacturing Plant เหตุผลของ Downtime ถ้าเกิดว่าไม่ได้ถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลอยู่แล้วนะครับไม่สามารถที่จะเติมเข้าไปในระบบพวกนี้ได้ต้องสร้าง input หรือ Data Set สำหรับ input ใหม่ด้วยเหตุนี้ตัว BI Tool นะครับมี Powerful มีประสิทธิภาพสูงนะครับส่วนใหญ่แล้วจะใช้เป็นแค่ตัว Add on ของระบบต่างๆ

On-Premise Custom Application (Traditional System)

เป็นประเภท On-Premise Custom Application ที่มีไว้ก็คือจะมี Vendor นึงนะครับ Supplier ที่เขียนโปรแกรมให้ก็คือมีบริษัทเขียนโปรแกรมนะครับ Custom made ไว้สำหรับใช้ที่ไซต์งาน Software ลักษณะนี้นะครับค่อนข้างที่จะราคาดีสามารถที่จะ Customize ให้ตรงตาม requestment ที่ต้องการได้ ปัญหาก็คือซอฟต์แวร์ลักษณะนี้ไม่ได้ทำตาม Standard หรือ benchmark อะไรนะครับหรือว่าไม่มี Certificate ในการการันตีคุณภาพของมันคุณ ก็เลยจำเป็นที่จะต้องพึ่งตัว Vendor ที่เขียนตัวซอฟต์แวร์นี้ให้นะครับเพื่อที่จะดูแลแล้วก็พัฒนาตัวซอฟต์แวร์นี้ต่อไป

On-Premise Application (Traditional System)

เป็น Standard ผมยกตัวอย่างนะครับอาทิเช่นอย่าง SCADA มี multination brand อย่าง Siemens และ Schneider ที่พัฒนาซอฟต์แวร์อยู่เช่นอย่าง AVEVA ที่เคยเป็น Wanderware และได้ถูกซื้อไปนะครับก็ยังเป็นของ Scheider electric แล้วก็ยัง WIN CC ที่เป็นของทาง Siemens พวก นี้ก็คือตัวอย่างซอฟต์แวร์ของ On-Premise Application สำหรับทุกประเภทของ Application ว่าไม่ว่าจะเป็น SCADA หรือ MES ก็ตามก็จะมี Leading Company หรือ Multinational Company นะครับที่พัฒนาซอฟต์แวร์พวกนี้เพื่อที่ให้ใช้งาน วิธีการเลือกซอฟต์แวร์เหล่านี้ก็ขึ้นอยู่กับฟีเจอร์แล้วก็ความเหมาะสมของแต่ละไซส์ แต่ว่าข้อดีของซอฟต์แวร์ก็คือจะ Uses case ตัวอย่าง Customer reference อยู่เยอะนะครับมีฟีเจอร์อยู่เยอะ แล้วคุณภาพของซอฟต์แวร์ก็ได้ Level เดียวกับคุณภาพของบริษัทที่เขาพัฒนาซอฟต์แวร์ ข้อดีก็คือ Best-in-class มีผู้ใช้อยู่เยอะ Quality สูง ข้อเสียของซอฟต์แวร์ประเภทนี้นะครับแน่นอนก็คือราคาสูงและต้องควักเงินก้อนเพื่อจัดซื้อเพื่อมาติดตั้งในไซต์งาน

SaaS Application (IIoT system)

เป็นพวกประเภท SaaS Application ในช่วงหลังมาแรงมากเลยครับเพราะว่าเป็นลักษณะเช่าใช้ไม่ต้องลงเงินก้อนตอนต้น ERP ใหญ่ๆนะครับอาทิเช่น ORACLE SaaS, Microsoft Dynamic ก็ทยอยกันเปลี่ยนไปใช้โมเดลนี้ใน ERP Application. Character ของมันเมื่อคืนเงินลงทุนตอนต้นไม่สูง มีประสิทธิภาพสูง ไม่ต้องออกแรง Maintain สามารถเริ่มจากจุดเล็กๆและขยายไปทั่วใช้งาน SaaS Application ก็คือจะเป็น Character ที่เหมาะสมกับ IIoT นะครับเพราะว่าตัวเซิร์ฟเวอร์ไม่จำเป็นที่ต้องอยู่ในไซต์งาน ตัวอุปกรณ์ที่อยู่ในโรงงานผลิตสามารถส่งข้อมูลตรงไปที่ Cloudที่ SaaS Application ได้ ข้อดีนะครับเงินลงทุนตอนต้นต่ำ Best in Class นะครับ Power full มีประสิทธิภาพสูง ซ่อมบำรุงต่ำ Upgard ได้เรื่อยๆโดยที่ไม่ต้องออกแรงเริ่มใช้จากจุดเล็กๆและขยายไปทั่วทั้งไลน์ผลิตได้ข้อเสียนะครับก็ต้องใช้ internet Connection แล้วก็ควรที่จะมี Security เพิ่มเติมซึ่ง Organization ที่ไม่ให้เก็บข้อมูล iCloud หรือไม่มีนโยบายในทางส่วนนี้นะครับก็ไม่สามารถใช้ซอฟต์แวร์ลักษณะนี้ได้ตัวอย่างของ Saas Application ในแบบที่ 5 นี้ก็จะมี Mindshare ของ Siemens, PTC ThingWorx เป็นต้นนะครับ

Custom SaaS Applications powered by a cloud platform (IIoT system)

เป็นแบบสุดท้ายอันนี้เป็นตัวใหม่เลยแล้วก็เพิ่งออกมา 2-3 ปีที่ผ่านมานี้เองก็คือเป็น Custom SaaS Application Powered  Buy Cloud อาทิเช่น AWS นะครับความหมายความว่ายังไงเราสามารถพัฒนา SaaS Application ได้เองโดยที่ใช้เทคโนโลยีของ AWS Service อย่าง AWS IoT core AWS Website เพื่อที่จะพัฒนาแอพพลิเคชั่น Cloud อย่าง  Azure’s ของ Microsoft หรือ Huawei ก็มี Service คล้ายๆอย่างนี้นะครับ ผู้ผลิตนะครับ Local สามารถที่จะใช้ศักยภาพเหล่านี้พัฒนา SaaS Application ให้กับทางลูกค้าได้ตัวอย่างอาทิเช่นอย่าง Compomax นะครับก็พัฒนา Software Appomax ที่ Power by AWS เราต้อง Appro  คุณภาพโดยการ qualified กับทาง AWSนะครับถึงจะทำลักษณะอย่างนี้ได้เพราะฉะนั้นก็จะเป็น Hybrid นะครับที่ flixble ด้วยและมีคุณภาพด้วยก็จะได้ข้อได้เปรียบของ SaaS ไม่จำเป็นต้องลงทุนสูงตอนเริ่มต้นถูกกว่า SaaS Application อีกและเป็นโซลูชั่นที่เหมาะสำหรับโรงงานผลิตไซส์กลางลงไปนะครับ

ตารางเปรียบเทียบระหว่างระบบ IIoT กับวิธีดั้งเดิม

เป็นตารางที่เราทำขึ้นมาเพื่อเปรียบเทียบแต่ละ Criteria  ของแต่ละซอฟต์แวร์ตั้งแต่ระดับราคา อันนี้เราทำระดับราคาเป็นของไทยนะครับก็คือระดับแสนระดับล้านระดับ 10 ล้านในลักษณะอย่างนั้น cost of owner shipตั้งแต่ตอนต้นว่าต้อง cost of ownership overall นะครับว่ามีค่าใช้จ่ายสูงต่ำแค่ไหน Initial cost นะครับคือคอร์สของการเริ่มต้นใช้งานนะครับแล้วก็ On-going cost  คือข้อที่ต้องจ่ายไปเรื่อยๆในแต่ละปีคุณภาพและความเสถียรของตัวซอฟต์แวร์ Flexibility ความยืดหยุ่นของการ Implementation time ว่าถ้าเริ่มที่จะเซ็นสัญญาใช้งานแล้วกว่าจะได้ใช้ใช้เวลานานเท่าไหร่In house Expertise นะครับว่าเราต้องมีคนภายในที่เชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบนี้แค่ไหนความจำเป็นของซัพพอร์ต vender ของนะครับของคนที่ดูแลเราความยากลำบากในการ Maintenance และอัพเกรดอันสุดท้ายนะครับมีผลยังไงบ้างถ้าเกิดซอฟต์แวร์ที่ Maintenance นับเกรดยากนะครับหลังจากที่ซื้อมาใช้งานไประยะหนึ่งอาทิเช่น 5 ปีถึง 7 ปีในการอัปเดตไปอันใหม่เนี่ยเปรียบเสมือนกับการซื้อใหม่เลย 

Facebook Comments