วิศวกรซ่อมบำรุงมีหน้าที่ทำอะไรบ้าง

Share this post

ในบทความนี้เราได้แยกประเภทของงานและความรับผิดชอบของวิศวกรซ่อมบำรุง เราอธิบายถึงเนื้องานอย่างละเอียดเพื่อที่ให้คนที่สนใจในการจะเข้ามาทำงานลักษณะนี้ได้ทราบว่าจะต้องดูแลอะไรบ้าง หากใครสนใจอยากจะแชร์ประสบการณ์และออกความเห็นสามารถทำได้ในการออกความเห็นด้านล่างเลยครับ

สามารถดูรายละเอียดของบทความอื่นได้ที่ คู่มือแนะแนวสายงานวิศวกรซ่อมบำรุง

null

วางแผนการซ่อมบำรุง Preventive Maintenance

null

Work Request ใบแจ้งซ่อม

null

วิเคราะห์สาเหตุเครื่องจักรเสียหาย

null

กิจกรรม Kaizen และ 5ส

null

จัดทำ TPM

null

การทำ OEE

null

ควบคุมอะไหล่เครื่องจักร

  • วางแผนการซ่อมบำรุง หรือ การทำ PM (Preventive Mainternance) เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องจักรเกิด Breakdown
  • Work Request ใบแจ้งซ่อม แก้ไขปัญหาเมื่อเครื่องขัดข้อง
  • วิเคราะห์ปัญหาสาเหตุในการเสียของเครื่องจักร
  • กิจกรรม Kaizen , 5ส และ อื่นๆที่ลดการสูญเสียต่างๆ
  • จัดทำ TPM (Total Productive Maintenance)
  • การทำ OEE หรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด
  • ควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้า Spare part ที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุง เช็คสเปคของที่จะสั่งซื้อ

1 วางแผนการซ่อมบำรุง Preventive Maintenance

วางแผนการซ่อมบำรุง หรือการทำ PM (Preventive Maintenance) เป็นการบำรุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์ ตามระยะเวลาที่กำหนดซี่งอาจได้มาจากประสบการณ์หรือคู่มือการใช้งานของเครื่องจักรนั้นๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องจักรเกิด Breakdown

2 Work Request ใบแจ้งซ่อม แก้ไขปัญหาเมื่อเครื่องขัดข้อง

Work Request ใบแจ้งซ่อม แก้ไขปัญหาเมื่อเครื่องขัดข้อง เมื่อเครื่องจักรเกิดขัดข้องหรือเสียหาย ต้องมีการตรวจสอบความเสียหายแล้วแจ้งไปให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ อาจจะเป็นวิศวกรผู้ดูแล โดนผ่านใบแจ้งซ่อมที่บอกรายละเอียดไว้อย่างครบถ้วน เพื่อให้ช่างมาทำการซ่อมแซมต่อไป

3 วิเคราะห์ปัญหาสาเหตุในการเสียของเครื่องจักร

วิเคราะห์ปัญหาสาเหตุในการเสียของเครื่องจักร เมื่อเครื่องจักรเกิดขัดข้อง วิศวกรหรือช่างผู้ดูแลต้องมาตรวจสอบปัญหา ตรวจดูการทำงานของเครื่องจักรนั้นๆ แล้วหาสาเหตุของความขัดข้องนั้น เพื่อทำการแก้ไขต่อไป

4 กิจกรรม Kaizen , 5ส และ อื่นๆที่ลดการสูญเสียต่างๆ

กิจกรรม Kaizen , 5ส และอื่นๆ ที่ลดการสูญเสียต่างๆ กิจกรรมเหล่านี้จะทำให้การทำงานเกิดความสะดวก เป็นระเบียบ บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานมีความสะอาดและปลอดภัย ส่งผลให้การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มยิ่งขึ้น

5 จัดทำ TPM (Total Productive Maintenance)

จัดทำ TPM (Total Productive Maintenance)

6 การทำ OEE หรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด

การทำ OEE หรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด

7 ควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้า

ควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้า Spare part ที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุง เช็คสเปคของที่จะสั่งซื้อ

Facebook Comments